การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคจากฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในเด็กวัยเรียน

Author:

วงษ์จันทร์ วราพรรณ

Abstract

ปัญหาภาวะโลกร้อนหรือสภาพภูมิอากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบพลิกผันไปในทิศทางที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และสอดคล้องกับปัญหามลพิษทางอากาศที่มีแนวโน้มทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) จึงเป็นภัยสิ่งแวดล้อมที่คุกคามสุขภาพบุคคล อันก่อให้เกิดผลกระทบต่อภาวะสุขภาพโดยรวมของเด็กวัยเรียนซึ่งเป็นกลุ่มเปราะบางในระยะสั้นและระยะยาวทั้งด้านร่างกาย จิตใจ การเรียนรู้และสติปัญญา และสังคมเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเด็กวัยเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีโรคประจำตัวเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ และระบบหัวใจและหลอดเลือด หากเด็กวัยเรียนได้รับการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่เพียงพอจะเกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อสุขภาพ ในทางตรงข้ามหากไม่ได้รับการสร้างเสริมสุขภาพหรือได้รับไม่เพียงพอ อาจมีความเสี่ยงต่อสุขภาพสูง ดังนั้น การสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกจึงเป็นมิติหนึ่งที่สำคัญในการป้องกันโรคก่อนการเจ็บป่วยที่อาจเกิดขึ้นได้ในเด็กวัยเรียน รวมถึงการดำเนินงานด้านปฏิบัติการ การวางแผน การประสานงาน การบริการที่เข้าถึงและครอบคลุม และด้านวิชาการ ซึ่งสามารถช่วยให้เด็กวัยเรียนปลอดภัยจากโรคที่เกิดจากฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน ได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดี  

Publisher

Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University

Subject

General Medicine

Reference36 articles.

1. World Health Organization. Air Pollution and Child Health: Prescribing Clean Air: Summary. July 10, 2018. Accessed November 9, 2023. https://www.who.int/publications/i/item/WHO-CED-PHE-18-01

2. National Geographic Thailand. IQAir AirVisual’s World Air Quality Report: Thailand’s air, ranked 5th globally, was the worst in Southeast Asia. March 20, 2023. Accessed November 9, 2023. https://ngthai.com/environment/47666/iqair-thai/

3. Alexeeff SE, Liao NS, Liu X, Van Den Eeden SK, Sidney S. Long-term PM2.5 exposure and risks of ischemic heart disease and stroke events: review and meta-analysis. J Am Heart Assoc. 2021;10(1):e016890. doi:10.1161/JAHA.120.016890

4. Xing YF, Xu YH, Shi MH, Lian YX. The impact of PM2.5 on the human respiratory system. J Thorac Dis. 2016;8(1):E69-E74. doi:10.3978/j.issn.2072-1439.2016.01.19

5. Lelieveld J, Klingmüller K, Pozzer A, et al. Cardiovascular disease burden from ambient air pollution in Europe reassessed using novel hazard ratio functions. Eur Heart J. 2019;40(20):1590-1596. doi:10.1093/eurheartj/ehz135

同舟云学术

1.学者识别学者识别

2.学术分析学术分析

3.人才评估人才评估

"同舟云学术"是以全球学者为主线,采集、加工和组织学术论文而形成的新型学术文献查询和分析系统,可以对全球学者进行文献检索和人才价值评估。用户可以通过关注某些学科领域的顶尖人物而持续追踪该领域的学科进展和研究前沿。经过近期的数据扩容,当前同舟云学术共收录了国内外主流学术期刊6万余种,收集的期刊论文及会议论文总量共计约1.5亿篇,并以每天添加12000余篇中外论文的速度递增。我们也可以为用户提供个性化、定制化的学者数据。欢迎来电咨询!咨询电话:010-8811{复制后删除}0370

www.globalauthorid.com

TOP

Copyright © 2019-2024 北京同舟云网络信息技术有限公司
京公网安备11010802033243号  京ICP备18003416号-3