The Three-Age System: A Struggle for Southeast Asian Prehistoric Periodisation

Author:

Kanjanajuntorn Podjanok

Abstract

This article explores the concept of the “Three-Age System” that has to some extent stymied the conceptualization of Southeast Asian prehistory. The direct transfer of this system from its European application to Southeast Asia has substantially influenced the analysis and characterization of Southeast Asian data. In particular, the chronological division of ‘Bronze Age’ and ‘Iron Age’ has overemphasized the linkage between the development of metal technology in relation to socio-economic development. It is agreed that absolute chronology needs to be established, however the terminology of ‘Bronze Age’ and ‘Iron Age’ should be used specifically for the classification of artefact chronology, separately from the explanation of stages of social organisation. Archaeological data from west-central Thailand will be discussed to demonstrate the issue of the incompatible framework of the Three-Age System (Figures 1-2). The apparent absence of clear age subdivisions and the lack of a “real” Bronze Age has made the chronology of this region seem incomplete. Stone tools had been abundantly used throughout the prehistoric period, and bronze and iron materials were often found at the same sites. However, little scientific data prior to 500 BCE has been obtained from any site in the region. This may or may not be the reason for west-central Thailand being considered peripheral in the discussion of the socio-economic development of mainland Southeast Asia. In consideration of these issues, archaeological methodology and the formation of knowledge from Southeast Asia prehistory will be discussed, including the necessity to move from the imported “Three Age System” to concepts that better fit the local data in west-central Thailand. The distorted prehistoric analysis needs to be adjusted so that our understanding of prehistory in Thailand does not become a scientific illusion.บทความนี้เป็นการสำรวจและสะท้อนให้เห็นว่า “ระบบสามยุค” ที่ใช้ในการกำหนดอายุแหล่งโบราณคดีด้วยวิธีเทียบเคียงนี้ แทบจะกลายเป็นกรอบคิดในการศึกษาโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระบบการกำหนดอายุแบบโบราณคดียุโรปที่ถูกนำมาใช้ได้ส่งอิทธิพลต่อแนวทางการศึกษาโบราณคดีภูมิภาคนี้อย่างสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกำหนดอายุ ‘ยุคสำริด’ และ ‘ยุคเหล็ก’ ที่มุ่งเน้นการศึกษาพัฒนาการด้านเทคโนโลยีโลหกรรมแล้วนำไปใช้อธิบายเชื่อมโยงกับพัฒนาการทางสังคม การลำดับอายุสมัยมีความสำคัญสำหรับโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ก็จริง แต่การใช้ 'ยุคสำริด’ และ ‘ยุคเหล็ก’ ควรใช้ในลักษณะที่เป็นการจัดจำแนกประเภทโบราณวัตถุ แต่ไม่ควรนำไปผูกติดกับการอธิบายพัฒนาการทางสังคม ตัวอย่างที่จะนำมาอภิปรายในบทความนี้ก็คือ ข้อมูลโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์จากภาคตะวันตกของประเทศไทย โดยจะสะท้อนให้เห็นว่าการกำหนดอายุแหล่งด้วยระบบสามยุคทำให้เกิดความลักลั่นอย่างไร จากการเป็นภูมิภาคที่ไม่พบยุคสำริด ‘แท้’ ทำให้กลายเป็นว่าลำดับทางวัฒนธรรมของภูมิภาคไม่มีความต่อเนื่อง หลักฐานประเภทเครื่องมือหินพบมากมายในภาคตะวันตก ในขณะที่วัตถุประเภทสำริดและเหล็กพบเพียงบางแหล่งเท่านั้น แหล่งโบราณคดีในภูมิภาคนี้ที่กำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์เก่าแก่กว่า 500 ปีก่อนคริสตกาลมีจำนวนน้อยมาก ซึ่งอาจจะเป็นเหตุผลหรือไม่ก็ตามที่ทำให้ภาคตะวันตกของไทยไม่ค่อยถูกกล่าวถึงในการศึกษาพัฒนาการเศรษฐกิจ-สังคมภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการอภิปรายประเด็นดังกล่าวนี้ ผู้เขียนได้หยิบยกข้อมูลว่าด้วยพัฒนาการของวิธีวิทยาทางโบราณคดีและประวัติการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งข้อคำนึงในการแสวงหาคำเรียกลำดับอายุที่น่าจะเหมาะสมกว่า ‘ระบบสามยุค’ เพื่อให้การศึกษาโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์สะท้อนความเข้าใจเกี่ยวกับอดีตของประเทศไทยอย่างแท้จริงโดยไม่กลายเป็นมายาคติทางวิทยาศาสตร์

Publisher

Southeast Asian Ministers of Education Organization Regional Centre for Archaeology and Fine Arts

Subject

Archeology,Visual Arts and Performing Arts,Archeology,Conservation

Cited by 2 articles. 订阅此论文施引文献 订阅此论文施引文献,注册后可以免费订阅5篇论文的施引文献,订阅后可以查看论文全部施引文献

同舟云学术

1.学者识别学者识别

2.学术分析学术分析

3.人才评估人才评估

"同舟云学术"是以全球学者为主线,采集、加工和组织学术论文而形成的新型学术文献查询和分析系统,可以对全球学者进行文献检索和人才价值评估。用户可以通过关注某些学科领域的顶尖人物而持续追踪该领域的学科进展和研究前沿。经过近期的数据扩容,当前同舟云学术共收录了国内外主流学术期刊6万余种,收集的期刊论文及会议论文总量共计约1.5亿篇,并以每天添加12000余篇中外论文的速度递增。我们也可以为用户提供个性化、定制化的学者数据。欢迎来电咨询!咨询电话:010-8811{复制后删除}0370

www.globalauthorid.com

TOP

Copyright © 2019-2024 北京同舟云网络信息技术有限公司
京公网安备11010802033243号  京ICP备18003416号-3